aaa
 
หน้าแรก | ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมงานบุญ | ติดต่อกับผู้ผลิต | 
ค้นหาผลิตภัณฑ์  
 
 
 
 
 
 
เครื่องดื่มชนิดผงพร้อมชง
และเครื่องดื่มชนิดน้ำพร้อมดื่ม
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ทั้งชนิดน้ำพร้อมดื่ม และชนิดแคปซูล บรรจุแผง / ขวด
 
 
 
 
 
ข้าวกล้องเพาะงอกเบญจกระยาทิพย์
ที่มาของกาแฟ
กระดูกอ่อนฉลามและคอลลาเจน
ที่มาของรังนก
INS 401 คืออะไร
คารายากัม คืออะไร
งานวิจัยซุปไก่สกัด
กลูตาไธโอนคืออะไร
ความเป็นมาของกำลังช้างสาร
สรรพคุณของโชวู
Coenzyme Q10 คืออะไร
โสมกับสุขภาพ
ประโยชน์ของตังถั่งเช่า
สรรพคุณของจับเลี้ยง
ความเป็นมาของทุเรียน
ความเป็นมาของเห็ดหลินจือ
ความเป็นมาของเห็ดไมตาเกะ
ความเป็นมาของตังกุย
ประโยชน์ของเห็ดจีซง
ถาม - ตอบ เรื่องเอนไซม์
ประวัติของโรคเบาหวาน
ความเป็นมาของน้ำมันมะพร้าว
ประโยชน์ของเขากวางอ่อน
ประโยชน์ของผลส้มแขก
ประโยชน์ของจันทน์เทศ
ประโยชน์ของชาใบหม่อน
คุณค่าของมะรุม
ความเป็นมาของผลหม่อน
ประโยชน์ของเมล็ดองุ่นแดง
สรรพคุณของดอกคำฝอย
สรรพคุณของไข่มุก
สรรพคุณของโกฐหัวบัว
สรรพคุณของโกฐเขมา
สรรพคุณของอึ้งคี้หรือปักคี้
สรรพคุณของกำลังวัวเถลิง
สรรพคุณของกำลังหนุมาน
สรรพคุณของกระชายดำ
สรรพคุณของแปะก๊วย
ประโยชน์ของม้าน้ำ
ความเป็นมาของผักชีลาว
สรรพคุณของดอกอัญชัน
สรรพคุณของดอกทองพันชั่ง
สรรพคุณของว่านหางจระเข้
สรรพคุณของใบบัวบก
สรรพคุณของนมผึ้ง
สรรพคุณของต้นไหลเผือก
สรรพคุณของพลูคาว
ความเป็นมาขององุ่น
สรรพคุณของมังคุด
สรรพคุณของหัวไชเท้า
คุณสมบัติของต้น Wicth Hazal
 
 
 
 
 
 
เครื่องดื่มชนิดผงพร้อมชง
และเครื่องดื่มชนิดน้ำพร้อมดื่ม
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทั้งชนิดน้ำ
พร้อมดื่ม และชนิดแคปซูล
บรรจุแผง / ขวด
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไทยรัฐ
ข่าวสด
เดลินิวส
มติชน
สยามธุรกิจ
บ้านเมือง
แนวหน้า
กรุงเทพธุรกิจ
โพสต์ทูเดย
 
 
 
 
 
 
นฬปานชาดก
ตโยธัมมชาดก
วัณณุปถชาดก
ติตติรชาดก
วานรินทชาดก
มหิฬามุขชาดก
มหาอุกกุสชาดก
ติปัลลัตถมิคชาดก
มหาวาณิชชาดก
พระจูฬปันถกเถระ
พกชาดก
มุณิกชาดก
 
 
 
 

 
 
มังคุด (อังกฤษ: mangosteen) ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia mangostana Linn.
เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบเขตร้อนชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีถิ่นกำเนิดอยู่ที่หมู่เกาะซุนดาและหมู่เกาะโมลุกกะ
แพร่กระจายพันธุ์ไปสู่หมู่เกาะอินดีสตะวันตกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึงไปสู่ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส
ปานามา เอกวาดอร์ ไปจนถึงฮาวาย ในประเทศไทยมีการปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน
เพราะมีกล่าวถึงในพระราชนิพนธ์เรื่องรามเกียรติ์ในสมัยรัชกาลที่ 1
 
มังคุดเป็นไม้ยืนต้น สูง 10-12 เมตร ทุกส่วนมียางสีเหลือง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม
รูปไข่หรือรูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 6-11 ซม. ยาว 15-25 ซม. เนื้อใบหนาและค่อนข้างเหนียวคล้ายหนัง
หลังใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ท้องใบสีอ่อนกว่า ดอกเดี่ยวหรือเป็นคู่ ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง
สมบูรณ์เพศหรือแยกเพศ กลีบเลี้ยงสีเขียวอมเหลือง กลีบดอกสีแดง ฉ่ำน้ำ ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม
สีม่วงแดง ยางสีเหลือง มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 เซนติเมตร เนื้อในมีสีขาวฉ่ำน้ำ
เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 เซนติเมตร
 
การใช้ประโยชน์ของมังคุดมาประกอบอาหารบ้าง แต่ไม่มากนัก เช่น มังคุดลอยแก้ว
เปลือกของมังคุดมีสารให้รสฝาด คือแทนนิน แซนโทน (โดยเฉพาะแมงโกสติน) แทนนินมีฤทธิ์ฝาดสมาน
ทำให้แผลหายเร็ว แมงโกสตินช่วยลดอาการอักเสบและมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดหนองได้ดี
 
ในทางยาสมุนไพร ใช้เปลือกมังคุดตากแห้งต้มกับน้ำหรือย่างไฟ ฝนกับน้ำปูนใส แก้ท้องเสีย
เปลือกแห้งฝนกับน้ำปูนใส ใช้รักษาอาการน้ำกัดเท้า แผลเปื่อย เปลือกมังคุด
มีสารป้องกันเชื้อราเหมาะแก่การหมักปุ๋ย
 
ที่มาของข้อมูล : http://th.wikipedia.org ค้นหา “มังคุด”
 

 
โรคน้ำกัดเท้า หรือเชื้อราที่เท้า
 
โรคน้ำกัดเท้าคืออะไร
โรคน้ำกัดเท้า (Athlete's Foot) หรือฮ่องกงฟุต เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อรา ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกันกับเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคขี้กลาก
นั่นคือ เชื้อราในสายพันธ์ Dermatophytes โดยเชื้อราชนิดนี้จะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในที่เปียกชื้น เช่น รองเท้าที่ลุยน้ำท่วม
พื้นห้องอาบน้ำ หรือพื้นบริเวณสระว่ายน้ำ เป็นต้น เมื่อเราใส่รองเท้าที่มีเชื้อราชนิดนี้เจริญเติบโตอยู่จะทำให้เกิดโรคน้ำกัดเท้านั่นเอง
 
นอกจากนี้เชื้อราชนิดนี้ยังสามารถติดเชื้อได้จากการใช้ของร่วมกับผู้อื่น เช่น รองเท้า ถุงน้ำ ผ้าเช็ดตัว เป็นต้น
ซึ่งเชื้อราชนิดนี้สามารถเกิดขึ้นกับอวัยวะในส่วนอื่น ๆ ได้ด้วย
 
อาการของโรคน้ำกัดเท้า
จะเกิดอาการที่พบได้บ่อยในง่ามนิ้วเท้า โดยอาการในระยะแรกที่ยังไม่มีการติดเชื้อนั้นเท้าจะมีลักษณะเปื่อย แดง
และลอกเพราะเกิดการระคายเคือง แต่ถ้าหากมีอาการคันและเกาจนเกิดเป็นแผลจะมีการอักเสบ และติดเชื้อได้ง่าย
ซึ่งการติดเชื้อจะทำให้เกิดอาการแสบร้อน ปวด แผลเป็นหนอง ผิวเป็นขุย และลอกออกเป็นแผ่นสีขาว อาจมีกลิ่นเหม็นตามซอกเท้า
 
สาเหตุของโรคน้ำกัดเท้า
- มีภูมิคุ้มกันอ่อนแอหรือมีปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อรา เช่น โรคเบาหวาน เป็นต้น
- การปล่อยให้เท้าเปียกชื้นและสกปรก
- การสวมใส่รองเท้าและถุงเท้าที่อับชื้น
- การสวมรองเท้าที่ไม่ระบายอากาศ ทำให้เท้าร้อนและมีเหงื่อออก
- การเดินเท้าเปล่าในบริเวณที่มีความอับชื้นและเสี่ยงต่อการติดเชื้อรา เช่น ห้องอาบน้ำรวม ห้องล็อกเกอร์ โรงยิม เป็นต้น
- การใช้ผ้าเช็ดตัว เสื้อผ้า ถุงเท้า หรือรองเท้าร่วมกับผู้อื่น
 
การรักษาโรคน้ำกัดเท้า
รักษาเท้าให้สะอาด ล้างเท้าให้สะอาด พยายามเช็ดแผลให้แห้ง ไม่ควรสวมรองเท้าปิด หรือใส่ถุงเท้า เปลี่ยนรองเท้าคู่ใหม่
ที่แห้งและสะอาด ใช้ครีม หรือขี้ผึ้งกันเชื้อรา หรือโรยแป้งที่เท้าเพื่อไม่ให้เท้าเปียกชื้น
หากแผลติดเชื้อราสามารถรับประทานยาปฏิชีวนะร่วมด้วยได้
ซึ่งหากแผลติดเชื้อจะต้องรับประทานยาติดต่อกันอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 2-4 สัปดาห์
แต่หากมีอาการรุนแรงควรไปพบแพทย์
 
ภาวะแทรกซ้อนของโรคน้ำกัดเท้า
- มือ การเกาหรือสัมผัสเท้าบริเวณที่ติดเชื้อราและไม่ล้างมือให้สะอาดอาจก่อให้เกิดการติดเชื้อราที่มือตามมา
- เล็บเท้า เชื้อราอาจแพร่กระจายไปที่บริเวณเล็บเท้า ซึ่งจะทำให้การรักษาทำได้ยากขึ้น
- ขาหนีบ บริเวณดังกล่าวอาจเกิดการติดเชื้อราจากมือหรือการใช้ผ้าเช็ดตัวที่มีเชื้อราติดอยู่
 
ข้อปฏิบัติในการป้องกันน้ำกัดเท้า
- หลีกเลี่ยงการยืนแช่น้ำเป็นเวลานาน
- เมื่อต้องลุยน้ำ ควรสวมถุงพลาสติก หรือสวมถุงดำหุ้มเท้าไว้เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อรา และป้องกันของมีคมทิ่มแทงเท้า
- หากมีความจำเป็นต้องเดินลุยน้ำโดยไม่ได้สวมถุงพลาสติก เมื่อลุยน้ำแล้วควรรีบทำความสะอาดเท้า และเช็ดเท้าให้แห้ง
  โดยเฉพาะบริเวณซอกนิ้วเท้าที่มักจะเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค และเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
- ไม่ใช้ของร่วมกับผู้อื่น เช่น ร้องเท้าแตะ ถุงเท้า ผ้าเช็ดตัว เป็นต้น
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรเลี่ยงการลุยน้ำ เพราะหากเกิดแผลจะมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย และรักษาให้หายได้ยากกว่าคนปกติ
- หากเกิดบาดแผลลึกควรรีบทำความสะอาดแผลทันที หรือเข้าใช้บริการที่สาธารณสุขใกล้บ้านเพื่อทำแผล
  และหากบาดแผลมีหนอง หรือเกิดการอักเสบควรรีบพบแพทย์ทันที
 
คัดลอกข้อมูลบางส่วนและเรียบเรียง : http://www.petcharavejhospital.com/en/Article/article_detail/Athlete_Foot
                                                      โรงพยาบาลเพชรเวช
คัดลอกข้อมูลบางส่วนและเรียบเรียง : https://www.pobpad.com/เชื้อราที่เท้า
 
 

 
 
| หน้าแรก | ผลิตภัณฑ์ | ข้อมูลวิชาการ | วิธีการสั่งซื้อ - ชำระเงิน | วิธีการรับจ้างผลิตสินค้า | ติดต่อผู้ผลิต | กิจกรรมงานบุญ | เกี่ยวกับเรา | ติดต่อผู้แทนจำหน่าย |
 
aaa