|
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารน้ำสมุนไพรจีนสกัด ตรา "Starlux"
ปริมาตรสุทธิ : 730 มิลลิลิตร / ขวด |
เลข ทะเบียน อย. |
|
|
|
|
|
|
|
เกร็ดน่ารู้สมุนไพร สำหรับท่านสุภาพบุรษ |
|
|
ชื่อสมุนไพร |
สรรพคุณ |
|
|
|
บำรุงเลือด ตับ ไต เลือดลมเดินสะดวก |
บำรุงกระดูก
และเสริมสมรรถภาพทางเพศ |
|
|
|
|
บำรุงตับ ไต ช่วยให้เอ็นและกระดูกแข็งแรง |
แก้ปวดหลัง ช่วยขับปัสสาวะ |
|
|
|
บำรุงประสาท ลดอาการเครียด โรคประสาทอ่อน |
นอนไม่หลับ ช่วยไม่ให้เครียด ทำให้หลับลึก |
หลับนาน
และช่วยบำรุงหัวใจ ลดอาการใจสั่น |
|
|
บำรุงโลหิต บำรุงไต บำรุงไขกระดูก |
ป้องกันร้อนใน กระหายน้ำ ป้องกันการเจ็บฟัน |
เหงือกอักเสบ
และป้องกันเลือดกำเดาไหล |
|
|
|
บำรุงตับไต ช่วยขจัดพิษในร่างกาย |
แก้ปวดเมื่อยบริเวณเอว |
|
|
|
|
บำรุงไต ช่วยขับปัสสาวะ |
บรรเทาอาการปวดเนื้อปวดตัว |
และบรรเทาการปวดเอว |
|
เป็นยาบำรุงกำลังชั้นดี ช่วยให้สมองแจ่มใส |
แก้อาการเหนื่อยอ่อนแรง |
บำรุงกระเพาะอาหาร ลดน้ำตาลในเลือด |
ลดอาการช็อคจากโรคภูมิแพ้ |
และยับยั้งการเจริญเติบโตของมะเร็ง |
|
บำรุงร่างกาย ช่วยบำรุงโลหิต บำรุงกระดูก |
บำรุงไต
ช่วยขับปัสสาวะ |
และบรรเทาการปวดบริเวณเอว |
|
|
|
บำรุงร่างกาย บำรุงหัวใจ บำรุงประสาท บำรุงปอด |
ช่วยให้ร่างกายสดชื่น แข็งแรง |
|
|
|
แก้ปวดเอว บำรุงกระดูก และบำรุงไต |
|
|
|
|
|
เสริมสร้างร่างกาย บำรุงประสาท บำรุงเลือด |
และเสริมสมรรถภาพทางเพศ |
|
|
|
เสริมกำลังเอ็นให้แข็งแรง บำรุงไต บำรุงเลือดลม |
ฟื้นฟูสมรรถภาพทางเพศ อาการกามตายด้าน |
|
|
|
แก้เหน็บชา บำรุงไต แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย |
ทำให้กระชุ่มกระชวย แก้อ่อนเพลีย |
|
|
|
|
บำรุงไต บำรุงปอด หอบหืด |
|
|
|
|
|
|
|
|
เอกสารอ้างอิง
A คัดลอกจาก หนังสือ 100 ยาจีน บำรุงสุขภาพ แปลโดย อดุลย์ รัตนมั่นเกษม
B คัดลอกจาก หนังสือ 100 ยาจีน อายุวัฒนะ แปลโดย อดุลย์ รัตนมั่นเกษม
C คัดลอกจาก หนังสือยาจีน (คู่มือสมุนไพรและตำรายาบำรุงของจีน)
แปลโดย วีระชัย มาศฉมาดล และทัศนีย์ เมฆอริยะ
D คัดลอกจาก จงกว๋อ เฮี้ยว วู้ ด้า เซวียน
(หนังสือซึ่งรวบรวมสาระสำคัญในตัวยาสมุนไพรจีนแผนโบราณ ไว้ทั้งหมด)
รวบรวมโดย สมาคมแพทย์แผนโบราณในประเทศจีน
E คัดลอกจาก หนังสือ เซวียน กว๋อ จง เฉ้า ห้วย เพี่ยน ปี ค.ศ. 1975 - 1988 |
|
|
|
มะเร็งกระเพาะอาหาร เกิดจากอะไร |
|
มะเร็งกระเพาะอาหาร (Stomach Cancer) เป็นเนื้อร้ายที่เกิดขึ้นในเยื่อบุกระเพาะอาหาร อาการในระยะเริ่มต้นอาจไม่รุนแรง
และมีลักษณะคล้ายกับอาการของโรคอื่น ๆ เช่น อาหารไม่ย่อย เรอบ่อย แสบร้อนกลางอก ปวดท้อง แน่นท้อง
กลืนอาหารลำบาก เป็นต้น โดยมีปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เช่น การติดเชื้อแบคทีเรียบางชนิด การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารบางชนิด
อาหารรมควัน รวมถึงผู้ที่เคยเป็นโรคมะเร็งที่ส่วนอื่นของร่างกาย มะเร็งกระเพาะอาหารมักพบในเพศชายได้มากกกว่าในเพศหญิง
โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป |
|
อาการของมะเร็งกระเพาะอาหาร
ในระยะเริ่มแรกของผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะอาหารอาจไม่แสดงอาการของโรค หรือมีอาการที่ไม่รุนแรงและคล้ายกับอาการของโรคอื่น ๆ ได้
เช่น อาหารไม่ย่อย เรอบ่อย แสบร้อนกลางอก แน่นท้องหลังรับประทานอาหาร ปวดท้อง กลืนอาหารลำบาก เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น
หากเนื้อร้ายเจริญเติบโตจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการที่รุนแรงมากขึ้น และอาจพบอาการดังต่อไปนี้ |
- ปวดหรือจุกที่ลิ้นปี่
- แน่นท้องหรือปวดท้องหลังรับประทานอาหาร
- อุจจาระเป็นเลือด
- อาเจียนเป็นเลือด
- กลืนอาหารลำบาก
- เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
- รู้สึกอิ่มหลังรับประทานอาหารมื้อเล็ก ๆ
- รู้สึกเหนื่อยหรืออ่อนเพลียจากภาวะโลหิตจาง
- ดีซ่านโดยมีอาการผิวและตาเหลือง |
|
สาเหตุของมะเร็งกระเพาะอาหาร
- การติดเชื้อแบคทีเรียเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร (Helicobacter Pylori) เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการอักเสบ
เป็นแผลในกระเพาะอาหาร และอาจเกิดเป็นแผลในกระเพาะอาหารเรื้อรัง (Chronic Atrophic Gastritis)
- การสูบบุหรี่
- การรับประทานอาหารประเภทรมควัน ของหมักดอง หรือปลาเค็ม
- ผู้ที่มีน้ำหนักตัวมากหรือผู้ที่เป็นโรคอ้วน
- ผู้ที่มีอายุ 55 ปีขึ้นไป
- มักพบในเพศชายได้มากกกว่าในเพศหญิง
- ผู้ที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคมะเร็งกระเพาะอาหาร
- ผู้ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดวิตามินบี 12
- ผู้ที่เคยเข้ารับการผ่าตัดซ่อมแซมแผลในกระเพาะอาหาร ผ่าตัดกระเพาะอาหารออกบางส่วน
หรือผ่าตัดเส้นประสาทวากัส (Vagus Nerve)
- ผู้ที่เป็นโรคมะเร็งชนิดอื่น ๆ เช่น มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งต่อมน้ำเหลืองนอนฮอดจ์กิน มะเร็งเต้านม
รวมถึงผู้ที่เคยเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ มะเร็งอัณฑะ มะเร็งรังไข่ หรือมะเร็งปากมดลูก เป็นต้น |
|
การป้องกันมะเร็งกระเพาะอาหาร
- ออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและมีร่างกายที่แข็งแรง
- รับประทานผักและผลไม้ เพื่อช่วยเพิ่มเส้นใยอาหารและวิตามินให้กับร่างกาย
- หลีกเลี่ยงการรับประทานของหมักดอง อาหารรมควัน และอาหารที่มีรสเค็ม
- ไม่สูบบุหรี่ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งกระเพาะอาหารและมะเร็งชนิดอื่น ๆ
- ปรึกษาแพทย์หากพบว่ามีความเสี่ยงของการเกิดโรค |
|
คัดลอกข้อมูลบางส่วนจาก : https://www.pobpad.com/มะเร็งกระเพาะอาหาร |
|
|
|
รู้จักโรคเหน็บชา – เป็นเหน็บชาบ่อยๆ อย่าคิดว่าไม่เป็นอะไร? |
|
โรคเหน็บชา (Beriberi) – ภาวะขาดวิตามินบี 1 เป็นโรคทางระบบประสาทอย่างหนึ่ง
ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของระบบประสาทรับความรู้สึก สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกส่วนของร่างกาย
โดยมักจะมีอาการชาตามปลายมือ ปลายเท้า ซึ่งอาการดังกล่าวแตกต่างจากอาการเหน็บชา
ที่พบทั่วไปในชีวิตประจำวัน แต่รู้หรือไม่ว่า โรคเหน็บชา อาจเป็นจุดเริ่มต้นสัญญาณเตือนของโรคร้ายได้! |
|
โรคเหน็บชาเกิดจากอะไร? |
1. ขาดวิตามินบี 1 หรือ ไธอามีน (Thiamine)
2. สัญญาณเตือนของโรคบางอย่าง เช่น เบาหวาน พิษสุราเรื้อรัง
3. ปัจจัยอื่นๆ เช่น เหน็บชาจากกรรมพันธุ์ การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ผู้ที่เจ็บป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน เป็นต้น |
|
สาเหตุของโรคเหน็บชา |
- ติดสุราเรื้อรัง เพราะแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ลดการดูดซึมของวิตามินบี 1
และเพิ่มการขับวิตามินบี 1 ออกจากร่างกาย
ทำให้ร่างกายดูดซึมและสะสมวิตามินบี 1 ไม่เพียงพอ
- เหน็บชาจากกรรมพันธุ์ เป็นภาวะที่ทำให้ร่างกายต่อต้านการดูดซึมวิตามิน บี 1
- ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน (Hyperthyroidism)
- การผ่าตัดรักษาโรคอ้วน (Bariatric surgery)
- โรคเอดส์ (AIDS)
- ท้องเสียเป็นเวลานาน หรือการใช้ยาขับปัสสาวะ
- ผู้ที่กำลังรับการรักษาด้วยการฟอกไต
- อาหาร โดยเฉพาะผู้ที่ชอบรับประทานอาหารที่มีสารทำลายวิตามินบี 1 เช่น ปลาร้า ใบชา ใบเมี่ยง
หมากพลู ปลาส้มดิบ แหนมดิบ หอยลายดิบ และปลาน้ำจืดดิบ
- ผู้ที่เป็นโรคตับเรื้อรัง เช่น ตับแข็ง ซึ่งจะทำให้ตับไม่สามารถนำวิตามินบี 1 ไปใช้ประโยชน์ได้
- คนวัยฉกรรจ์ที่ต้องออกแรงหรือทำงานหนัก ๆ เช่น กรรมกร ชาวนา นักกีฬา รวมถึงผู้ต้องขังในเรือนจำ
และชาวประมงที่ออกทะเลเป็นเวลานาน ๆ
- ทารกที่กินนมมารดาเพียงอย่างเดียว โดยที่มารดาขาดวิตามินบี 1 หรือเป็นโรคเหน็บชา
(ทำให้น้ำนมไม่มีสารอาหารที่เพียงพอสำหรับทารก) หรือทารกที่กินนมซึ่งไม่มีส่วนผสมของวิตามินบี 1
- หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่กำลังให้นมบุตร
- ผู้ที่รับประทานอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาลมาก แต่รับประทานอาหารที่มีวิตามินบี 1 น้อย
|
|
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเหน็บชา |
ผู้ป่วยโรคเหน็บชาที่ร่างกายมีการขาดวิตามินบี 1 อย่างรุนแรง
อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับระบบประสาท สมอง กล้ามเนื้อ หัวใจ กระเพาะและลำไส้ได้
ซึ่งหากผู้ป่วยไม่รับการรักษาอาจนำไปสู่การเสียชีวิตได้ |
|
- ภาวะหัวใจล้มเหลว
- ภาวะทางจิต (Psychosis)
- โรคภูมิแพ้ชนิดรุนแรง (Anaphalaxis) |
|
กินอย่างไรห่างไกลเหน็บชา? |
- รับประทานอาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินบี 1 เช่น ถั่ว ธัญพืช ข้าวซ้อมมือ ข้าวกล้อง เป็นต้น
- หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เนื่องจากพบว่าผู้ป่วยที่ติดสุราเรื้อรัง
มักมีอาการเหน็บชาร่วมด้วย
- หลีกเลี่ยงการรับประทานของดิบ ของหมักดอง
เนื่องจากอาหารดังกล่าวขัดขวางการดูดซึมวิตามินบี 1 ของร่างกาย
- รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และออกกำลังกายร่วมด้วย |
|
นอกจากนั้น ควรจำกัดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงการเกิดเหน็บชาให้น้อยลงได้
เพราะแอลกอฮอล์มีผลต่อร่างกายในการดูดซึมวิตามิน บี 1
โดยเฉพาะผู้ที่ติดสุราหรือบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป
ควรได้รับการตรวจภาวะขาดวิตามิน บี 1 อย่างสม่ำเสมอ และควรหลีกเลี่ยงอาหารที่อาจมีสารทำลายวิตามินบี 1
เช่น ปลาร้า ใบชา ใบเมี่ยง หมากพลู ปลาส้มดิบ แหนมดิบ หอยลายดิบ ปลาน้ำจืดดิบ เป็นต้น |
|
เรียบเรียงโดย คัดลอกข้อมูลบางส่วนและภาพจาก :
- https://www.sikarin.com/health/รู้จักโรคเหน็บชา-เป็นเ
อ้างอิงจาก : โรงพยาบาลศครินทร์
- https://www.pobpad.com/เหน็บชา |
|
|
|
|
CALL CENTER : 084-467-7810
E-mail : ceo424d@hotmail.com |
|
กาแฟคอลลาเจน , กาแฟลดน้ำหนัก , บอนแบค , bonboack
บริษัท ไก่ดำมหากิจ นิคมอุตสาหกรรมบางพลี ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10540
บริษัท ไดนาฟูด จำกัด , อาหารเพื่อสุขภาพ , เอเซียโอสถ 2 , นางเบญญาภา โกมลกิติกุล , ผลิตอาการเสริม , ยาแผนโบราณ
, เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ , ขนมอัดเม็ด , อาหารสำเร็จรูป , daina food , M one , เอ็ม วัน , 12-2-00129-1-0233 ,
M 1 , M.1 (DIETARY SUPPLEMENT PRODUCT) , เอ็ม.วัน (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร) |
|